Life is short then do what brings happiness to life.

Search This Blog

Friday, January 31, 2014

Schema ในหมองมีอะไรบ้าง อิกคิวซัง ?


สวัสดีค่ะ วันนี้นักเรียนป้าโอ้ทไม่ต้องไปโรงเรียน เพราะคุณครูไปพักร้อน มีคำน่าสนใจมาฝาก รู้ไว้ใช่ว่า ดีกว่า ไม่รู้

schema (ˈskiːmə) อ่านว่า [skee-muh] ส กี ม่า คลิกเข้าไปฟังนะคะ 

แปลได้ว่า... ความรู้ทั้งมวลที่อยู่ในหมองของเรา เมื่อเราพูดถึงสิ่งใดแล้ว หมองของเราก็จะเขย่าๆ คิดๆ ว่าเรามีอะไรบ้างที่เรารู้เกียวกับสิ่งนั่นๆ ในแต่ละคนจะรู้เหมือน หรือ ต่างกัน ในสิ่งเดียวกัน

เช่น พูดถึงการทอดไข่เจียว แต่ละคนก็จะคิดล่ะ ต้องใช้อะไร ต้องทำอะไร ต้องใส่อะไร

เข้าใจเน่อะ 😄

Wednesday, January 29, 2014

Lazy English ขี้เกียจพูดยาว ว่างั้น

เพื่อนน่ารักคนหนึ่งถามป้าโอ้ทว่า Gonna กับ Gotta นี่อะไร งง จัง


มาคะ ป้าโอ้ทจะเล่า...


คำพูดสั้นๆ แบบขี้เกียจพูด เหมือนกับวัยรุ่นไทยที่สร้างคำพูดขึ้นมา พูดให้สั้นลงแต่เป็นที่เข้าใจ  คำเหล่านี้ไม่ใช้ในการเขียนนะคะ


เรียกว่า Relaxed (Fast) Pronunciation  คลิกลิงก์เข้าไปดูในวิกิพีดีอธิบายไว้ มีตัวอย่างหลายภาษาด้วย รวมทั้งภาษาอังกฤษ




ป้าโอ้ทยกตัวอย่างที่ใช้กันบ่อยในภาษาอังกฤษ ตามที่ป้าโอ้ทเรียนมานะคะ




You  => Ya

เช่น Do you need exact change for these machines?  กลายเป็น Do *ya need exact change for these machines?


What do you  กับ What are you => Whaddaya


เช่น What do you want?  กลายเป็น Whaddaya want?
     What are you thinking? กลายเป็น Whaddaya thinking?


want to => wanna


เช่น I want to eat out. กลายเป็น  I *wanna eat out.


Going to + verb =>gonna


เช่น  What are you going to do? กลายเป็น *Whaddaya *gonna do?




Got to =>Gotta


เช่น I got to go. กลายเป็น I *gotta go.








ข้างล่างนี้ข้อมูลจาก วิกิพีดี ส่วนภาษาอังกฤษค่ะ

Of, have, and to

The words of, to, and have all tend to elide to nothing more than a schwa [ə] in many common situations. This sometimes leads to spelling confusion, such as writing "I could of..." instead of "I could have..." or "I could've".
  • could have: [ˈkʊɾə], coulda or [ˈkʊɾəv], could uhv.
  • must have: [ˈmʌstə], musta or [ˈmʌstəv], must uhv.
  • should have: [ˈʃʊɾə], shoulda or [ˈʃʊɾəv], should uhv.
  • would have: [ˈwʊɾə], woulda or [ˈwʊɾəv], would uhv.
  • it would: when contracted, it's pronounced [ˈɪɾəd], iduhd, but this often collapses to [ˈɪd], ihd.
  • it would / it would have: [ˈɪɾə], itta.
  • a lot of: [əˈlɑɾə], a lotta.
  • kind of: [ˈkaɪɾ̃ə], kinda.
  • out of: [ˈaʊɾə], outta.
  • sort of: [ˈsɔɹɾə], sorta.
  • going to: [ˈɡʌnə], gonna.
  • got to: [ˈɡɑɾə], gotta.
  • have to: [ˈhæftə], hafta.
  • want to: [ˈwɑɾ̃ə], wanna.
  • ought to : [ˈɔɾə], oughta.
"Would" can also get contracted ("I'd have done things differently."), which usually yields [ɾə] ("I would have..." can be pronounced [aɪɾə]).
Note: The [v] in "have" and "of" is usually retained before a vowel sound (e.g. in "I could have asked...").

You

"You" tends to elide to [jə] (often written "ya"). Softening of the preceding consonant also may occur: (/t/ + /jə/ = [tʃə], /d/ + /jə/ = [dʒə], /s/ + /jə/ = [ʃə], and /z/ + /jə/ = [ʒə]). This can also happen with other words that begin with [j] (e.g. "your", "yet", "year"). In some dialects, such as Australian English, this is not a relaxed pronunciation but compulsory: got you [ˈɡɔtʃjʉː] (never *[ˈɡɔtjʉː]).
  • did you: [ˈdɪdʒə], didja
  • did you / do you: [ˈdʒə], d'ya
  • don't you: [ˈdoʊntʃə], doncha
  • got you: [ˈɡɒtʃə], gotcha
  • get you / get your: [ˈɡɛtʃə], getcha
  • would you: [ˈwʊdʒə], wouldja

Other

  • -ing forms of verbs and sometimes gerunds tend to be pronounced with an [ɪ̈n] at the end instead of the expected [iŋ] or [ɪŋ]. E.g. talking: [ˈtʰɑkɪ̈n], tahkin. If followed by a [t], this can in turn blend with it to form [ɾ̃]. E.g. talking to Bob: [ˈtʰɑkɪ̈ɾ̃̃ə ˈbɑb], tahkinna Bob
  • "I will" gets contracted to "I'll" [aɪjəl], which in turn gets reduced to "all" [ɑl] in relaxed pronunciation. E.g. I'll do it: [ˈɑl ˈduɪʔ(t)], all do it
  • "he" tends to elide to just [i] after consonants, sometimes after vowel sounds as well. E.g. is he: [ˈɪzi], izee; all he: [ˈɑli], ahlee
  • "his", "him", and "her" tend to elide in most environments to [ɪ̈z], [ɪ̈m], and [ɚ], respectively. E.g. meet his: [ˈmiɾɪ̈z], meetiz; tell him: [ˈtʰɛlɪ̈m], tellim; show her [ˈʃoʊɚ], show-er
  • "them" tends to elide to [əm] after consonants. E.g. ask them: [ˈæskəm], ask'em. (Historically, this is a remnant of the Old English pronoun hem.)
  • about: [ˈbaʊt], bout
  • already: [ɑˈɹɛɾi], ahready
  • all right: [ɑˈɹʌit], ahright
  • come here: [ˈkʌmi(ə)ɹ], cuhmeer
  • don't know: [ɾəˈnoʊ], [dəˈnoʊ] if not preceded by a vowel sound, dunno
  • fixing to: "finna"
  • give me: [ˈɡɪmi], gimme
  • I'm going to: [ˈaɪmə], "Imma" or [ˈɑmənə], "Ah-muhnuh"
  • is it: [zɪt], ’zit
  • isn't it: [ˈɪnɪt], innit
  • let me: [ˈlɛmi], lemme
  • let's: [ts], E.g. let's go: [tsˈɡoʊ]
  • probably: [ˈpɹɑli], [ˈpɹɑbli], prolly, probly
  • suppose: [spoʊz] s'pose. E.g. I suppose so: [ai spoʊz soʊ]
  • trying to: [ˈtɹaɪɾ̃ə] "trynna"
  • want a: [ˈwɑɾ̃ə], wanna
  • what is that: [ˌwʌˈsæt], wussat
  • what is up: [wəˈsʌp], wassup
  • what is up: [sʌp], ’sup
  • what are you: [ˈwʌtʃə], whatcha
  • what have you: [ˈwʌtʃə], whatcha. E.g. What have you been up to? : [wʌtʃə bɪn ʌp tu]
  • what do you/what are you: [ˈwʌɾəjə], whaddaya
  • you all: [jɑl], y’all









Tuesday, January 28, 2014

หมั้นหมาย engaged ใช้ในความหมายทำนองเดียวกันแต่กับบางสิ่งที่ไม่ใช่บุคคลก็ได้จ้า

วันนี้ มีคำน่าสนใจมาบอกต่อค่ะ engaged ทั่วไปที่รู้กันคือ หมั้น ถ้าใช้กับบุคคล จะใช้เพรพโฟซิชั่น to เช่น Mary engaged to John. แต่ถ้าไม่ได้ใช้กับคนเป็นอะไรอย่างอืน ที่ไม่ใช่คน ใช้เพรพโพซิชั่น in เช่น Julie engaged in her work. หมายถึงติดอยู่กับงาน ยุ่งๆ


พอเข้าใจเนอะ

Thursday, January 23, 2014

เสียงเหมือนกันเพียงนิดก็เป็นครอบครัวเดียวกันได้...Phoneme Family

ภาษาอังกฤษวันนี้ ยากนิดนะคะสำหรับบางคน หรือ หลายๆคน ป้าโอ้ทได้มากระท่อนกระแท่นเพราะวันนี้มีอุปสรรคการเดินทาง (ยังไงติดตามอ่านบล๊อกต่อไปนะคะ) ทำให้ไปถึงห้องเรียนสายหนึ่งชั่วโมง

Phoneme Family คืออะไรล่ะเนี่ย? 
อ่านว่า โฟน นีม 

ตัวอย่างคำเหล่านี้ ออกเสียงเหมือนกันบางเสียง สะกดเหมือน หรือ ต่างกันได้หมด

-eak/ake/ache ออกเสียงว่า "เอ็ก ค (ออกเคอะด้วยนะคะ)

toothache, headche
earthquake
mistake, brake, break, snack,lake,shake,bake

คำเหล่านี้ล่ะคือ Phoneme

พอเข้าใจไหมคะ หรือ งง งง ^_^

Wednesday, January 22, 2014

My first writting in college



Jan 17.2014

Question:  If you were to produce a movie, what would be the subject of the movie?  Why?  Please explain why this type of movie interests you the most, would challenge you to create, and why or why not audiences would want to watch it.  


..........................................................................



Fantasy created fun world
            “Nothing impossible in your imagination”. I believed everyone has dream and imagination so I would love to make the film expanding the simulated world. I will make everyone‘s dream happens on my film. It is a challenge for me to create the film from impossible and invent unusual things for my films. My movies are going to fancy so the audience will never get bored. They will think it worth to pay for .My  movies will good for every age that could make family have good time together when they come to see my movie.

approve of เห็นด้วย

ภาษาอังกฤษ วันนี้ approve of... คือเห็นด้วยและสนับสนุน

Jam's parents did not approve of her marriage. พ่อแม่ของแจมไม่เห็นด้วยในการแต่งงานของเธอ => แบบนี้แย่เลยเน่อะ

approve of your decision => เห็นด้วยกับการตัดสินใจของคุณ


*********************
คำถามจากเพื่อน

* past tense ใช่เปล่า หลัง did ต้องเป็น ช่องที่ 1 เสมอ ถูกไหม อันนี้สงสัยมานาน


  •  ป้าโอ้ทตอบ

  • ถูก แต่ถ้า ไม่มี did กริยา verb น่ะ ก็ต้องเป็นช่องสอง พวกเติม d , ed , หรือ เปลี่ยนรูปคำ

  • เช่น I ate dinner at 8pm.

    Eat=> ate หรือ จะพูดแบบมี did ได้ว่า I did eat dinner at 8pm. แต่ว่าส่วนมากไม่ใช้แบบนี้ ใช้เป็นกริยาช่องสองเลย ไม่มี did ในประโยค .
    .. ที่ใช้ did ส่วนมากเป็นประโยคปฎิเสธ เพราะต้อง มี not ด้วย เหมือนในประโยคตัวอย่าง กริยา verb ก็เป็นช่อง หนึ่ง...หรือ I did not have lunch. => ฉันไม่ได้กินมื้อกลางวัน I had lunch at 1pm. => ฉันกินมื้อกลางวันตอนบ่ายโมง

    I did not hungry for pizza. => ฉันไม่ได้อยากกินพิซซ่า ; แบบนี้ไม่ใช่ช่องไหนนะ เพราะ hungry เป็น adjective ไม่มีเทนส์ แต่มีกริยาบางตัว ที่สามช่อง ไม่เปลียนรูป เราก็ต้องรู้ว่าตัวนั้นน่ะช่องไหน ....ตอบเกินคำถาม ขออภัยเด้อ ตอบยาว เริ่ม งง เอง

    Tuesday, January 21, 2014

    แต่งกับใครล่ะ ? Married to ...หย่าจากกันดีกว่า Divorced from...

    Married to... ไม่ใช่ Married with นะคะ ใครใช้ถูกแล้ว ใช้ต่อไปนะคะ ใครใช้ไม่ถูก จำใหม่นะคะ 


    Bua married to Somchai for years.  บัวแต่งงานกับสมชายหลายปีแล้วล่ะ


    ตรงข้ามกับ ;


    divorced from หย่าจาก....(ใครก็ว่าไป) ตรงข้ามกับ married to ... แต่งงานกับ....(ใครก็ว่าไป) เมื่อนำไปใช้กับอย่างอื่นที่ไม่ใช่คนก็ได้นะคะ หมายถึงหยุดมีส่วนร่วม ภาษาบ้านๆ ก็เลิกกันทีกับสิ่งนั้นๆ

    Somjai divorced from dancing group. สมใจออกจากกลุ่มเต้นแบบไม่กลับไปกลุ่มนี้อีก

    พอเข้าใจเนอะ








    ชอค โก แลต Chocolate อ่านแบบอเมริกัน สองพยางค์จ้า


    Chocolate แบบไทย อ่าน ชอค โก แลต


    แบบอเมริกันป้าโอ้ทเรียน อ่าน สองพยางค์ว่า ชอค แลต แต่ไม่ออกเสียงแข็งห้วนนะคะ ต้องมีเสียง (e) อึ ในลำคอ ด้วย ใครอ่านถูกอยู่แล้ว ทำถูกต่อไปค่ะ ใครอ่านผิดมาตลอดเหมือนป้าโอ้ท เปลียนนะคะ

    อ่อ ป้าโอ้ทเรียนแบบอเมริกัน นะคะ แบบอื่น ป้าโอ้ทไม่รู้ ^_^

    Dream about / Dream of...ได้แต่ฝันหวาน ^_^

    dream about หรือ dream of เพรฟโพซิชั่น about กับ of นะคะ ที่ใช้กับ dream ... ฝันว่า...

    ผันว่าถูกล๊อตเตอร์ลี่ สิบล้านดอลล่าร์ I dream about won a lottery 10 million dollars.

    ฝันเห็นงู I dream of snakes. กี๋ยๆๆๆ



    ไม่ยากเนอะ
    ************************************
    มีเพื่อนถามไว้ว่า แล้ว Dream on ล่ะ

    ป้าโอ้ทหาข้อมูลมาให้ได้ความว่า Dream on คนจะพูดกับคนที่คิดในสิ่งที่จะไม่เกิดขึ้น ยกตัวอย่างว่า มีเพื่อนคุณโก้มาขอให้ช่วยย้ายบ้าน แต่คุณโก้ไม่ไปช่วยแน่ๆ คุณโก้ก็จะตอบเพื่อนไปว่า  "คุณฝันไปหรือเปล่าว่าผมจะช่วยคุณ" ใช้คำนี้ล่ะ Dream on
    คำนี้เป็น วลี นะคะ จะไม่เหมือน กับ dream ที่ใช้กับ about / of  เพราะ dream about/of เป็นกริยา+ เพรพโพซิชั่น  (Verb+Prepositon)